汉语拼音:PINYIN article

สัทอักษรภาษาจีน (พินอิน )

               เนื่องจากตัวอักษรจีนเป็นตัวอักษรที่มาจากภาพวาดและวิวัฒนาการเรื่อยมาจนเป็นตัวอักษรจีนในปัจจุบัน โดยแต่ละขีด แต่ละเส้นของตัวอักษรจีนไม่สามารถนำมาผสมกันแล้วออกเสียงเป็นภาษาจีนได้ ด้วยเหตุนี้เองเราจึงจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ระบบการออกเสียงสัทอักษรภาษาจีน (พินอิน拼音) ซึ่งได้ดัดแปลงมาจาก International Phonetic Alphabets เพื่อช่วยในการอ่านออกเสียงตัวอักษรจีนนั้น ๆ หากเทียบกับภาษาไทยแล้ว ระบบสัทอักษรจีนหรือพินอินนั้นมิได้ยากอย่างที่คิดเลย ภาษาไทยเรามีพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ สัทอักษรจีนก็มีเช่นกัน

              หมู่ พยัญชนะ

1. พยัญชนะต้นของภาษาจีนมี 21 เสียง

b (ปัว / ปอ)         p (พัว / พอ)             m (มัว / มอ)             f (ฟัว / ฟอ)

d (เตอ)               t (เธอ)                     n (เนอ)                   l (เลอ)

g (เกอ)               k (เคอ)                    h (เฮอ)                   j (จี)

q (ชี)                  x (ซี)                       z (จือ)                    c (ชือ)

s (ซือ)               zh (จรือ)                   ch (ชรือ)                 sh (ซรือ)        r (ยรือ)

               หมายเหตุ     zh    ch    sh    r ให้ออกเสียงโดยยกปลายลิ้นขึ้นแตะบริเวณเพดานปาก ในการสะกดเสียงอ่านแบบไทยนั้น ผู้เขียนได้เลือกอักษร “ ร ” เป็นตัวแทนการออกเสียงยกลิ้นขึ้น มิได้หมายถึงให้สะกดเป็น จะ-รือ   ชะ-รือ   ซะ – รือ   ยะ-รือ แต่ให้ออกเสียงควบกัน

2. พยัญชนะต้นกึ่งสระมี 2 เสียง คือ

y (i อี)   และ   w (u อู)

             หมู่ สระ แบ่งออกเป็นสระเดี่ยว และสระผสม ดังนี้

             1. หมู่ สระเดี่ยว มี 6 เสียง ดังนี้

a (อา)      o (โอ)       e (เออ)        i (อี)         u (อู)       ü ( อวี)

** สระ ü จะออกเสียงสระ u (อู) ควบกับ สระ i (อี) ( u + i ) โดยจุดสองจุดที่อยู่ด้านบน u เท่ากับสระ i นั่นเอง

  หมายเหตุ บางตำรากล่าวถึงสระเดี่ยวไว้ว่ามี 8 เสียง ดังนี้

a (อา)       o (โอ)      e (เออ)      i (อี)        u (อู)       ü ( อวี)       ê (เอ)      er (เออร)

               2. หมู่ สระผสม สังเกตได้ว่าการออกเสียงสระผสม จะเกิดจากเทคนิคการลากเสียงของสระแต่ละเสียงมาชนกัน

2.1  

a (อา) + o (โอ) = ao (อาว)           i (อี) + u (อู) = iu (อิว)           e (เออ) + i (อี) = ei (เอย)

a (อา) + i (อี) = ai (ไอย)               u (อู) + i (อี) = ui (อุย)           o (โอ) + u (อู) = ou(โอว)

u (อู) + o (โอ)= uo (อัว)                u (อู) + a (อา)= ua (อวา)   เป็นต้น

หากสระ e (เออ) ตามท้ายสระตัวอื่นจะออกเสียงเป็นสระ ê (เอ)

 2.2

i (อี) + e (เอ) = ie (เอีย)                ü (อวี) + e (เอ) = üe (เอวีย)

กรณีที่มีเสียงพยัญชนะท้าย คือ – n หรือ – ng ตามหลังเสียงสระ เสียง – n จะเทียบได้กับเสียง “แม่กน” ในภาษาไทย และ – ng จะเทียบได้กับเสียง “แม่กง” ในภาษาไทย ส่วนเสียง – r ด้านท้ายนั้นกำกับไว้เพื่อแสดงว่าเป็นเสียงที่จำเป็นต้องม้วนหดลิ้นให้ยกขึ้นไปแตะบริเวณเพดานแข็๋ง

 2.3

a (อา) — an (อาน)              a (อา) — ang (อาง)          o (โอ) — ong (อง)        e (เออ) — en (เอิน)

e (เออ) — eng (เอิง)           ia (เอียะ) — ian (เอียน)       i (อี) — in (อิน)             ia (เอียะ) — iang (เอียง)

i (อี) — ing (อิง)                 i (อี) — iong ( อี+อง)       ua (อวา) — uan (อวาน)

ua (อวา) — uang (อวาง)      u (อู) — un (อูน)               ü (อวี) — ün (อวิน)

üa (เอวียะ) — üan (เอวียน)   e (เออ) — er (เออ-ร)

ในบรรดาสระเดี่ยว 6 เสียง จะมีอยู่ 2 เสียง คือ เสียงสระ i (อี) และ u (อู) ที่ไม่สามารถใช้เป็นสระขึ้นต้นพยางค์ตามลำพังได้ จึงจำเป็นที่จะต้องมีพยัญชนะกึ่งสระ y (อี) และ w (อู) มาช่วยกำกับแทนที่สระ i (อี) และ u (อู)

     2.4

i (อี) — yi (อี)                 ia (เอียะ) — ya(เอียะ)         iao (เอียว) — yao (เอียว)

ie (อีเย) — ye (เอีย)        iou (อิว)— you (อิว)            ian (เอียน) — yan (เอียน)

in (อิน) — yin (อิน)         iang (เอียง) — yang(เอียง)   ing (อิง) — ying(อิง)

iong ( อี+อง) — yong( อี+อง)         u (อู) — wu (อู)   ua (อวา) — wa (อวา)

uo (อัว) — wo(อัว)          uai (อวาย) — wai (อวาย)  uei (เอวย) — wei (เอวย)

uan (อวาน) — wan(อวาน)       uen (อู+เอิน) — wen (อู+เอิน)       uang (อวาง) — wang (อวาง)

ueng (อู+เอิง) — weng (อู+เอิง)

韵母分组 การแบ่งกลุ่มของสระผสม

สระผสม มีทั้งสิ้น 30 เสียง โดยแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

1

2

3

4

a

อา

o

โอ

e

เออ

i

อี

u

อู

ü

อวี

–   กลุ่มที่ 1 นำหน้าด้วยสระเสียงเดี่ยว     a (อา)   o (โอ)   e (เออ)   ได้แก่   

a (อา)        o (โอ)          e (เออ)     ê (เอ)    – i (อือ)

er (เออ-ร)    ai (อาย)      ei (เอย)      ao (อาว)

ou (โอว)     an (อาน)     en (เอิน)     ang (อาง / อัง)

eng (เอิง)   ong (อง)

*ในกรณีที่สระ i (อี)อยู่ในกลุ่ม 1 ซึ่งใช้กับเสียงพยัญชนะ z c s zh ch sh r  ให้ออกเสียงเป็นสระอือ

zi (จือ)               ci (ชือ)               si (ซือ)

zhi (จรือ)           chi (ชรือ)           shi (ซรือ)                  ri (ยรือ)

声母

1

a

อา

o

โอ

e

เออ

ê

เอ

– i

อือ

er

ai

อาย

ei

เอย

ao

อาว

ou

โอว

an

อาน

en

เอิน

ang

อัง

eng

เอิง

ong

อง

b

โป

ba

ปา

bo

โป

bai

ปาย

bei

เปย

bao

ปาว

ban

ปาน

ben

เปิน

bang

ปัง

beng

เปิง

p

โพ

pa

พา

po

โพ

pai

พาย

pei

เพย

pao

พาว

pou

โพว

pan

พาน

pen

เพิน

pang

พัง

peng

เพิง

m

โม

ma

มา

mo

โม

me

เมอ

mai

มาย

mei

เมย

mao

มาว

mou

โมว

man

มาน

men

เมิน

mang

มัง

meng

เมิง

f

โฟ

fa

ฟา

fo

โฟ

fei

เฟย

fou

โฟว

fan

ฟาน

fen

เฟิน

fang

ฟัง

feng

เฟิง

d

เตอ

da

ตา

de

เตอ

dai

ตาย

dei

เตย

dao

ตาว

dou

โตว

dan

ตาน

den

เติน

dang

ตัง

deng

เติง

dong

ตง

t

เทอ

ta

ทา

te

เทอ

tai

ทาย

tao

ทาว

tou

โทว

tan

ทาน

tang

ทัง

teng

เทิง

tong

ธง

n

เนอ

na

นา

ne

เนอ

nai

นาย

nei

เนย

nao

นาว

nou

โนว

nan

นาน

nen

เนิน

nang

นัง

neng

เนิง

nong

นง

l

เลอ

la

ลา

le

เลอ

lai

ลาย

lei

เลย

lao

ลาว

lou

โลว

lan

ลาน

lang

ลัง

leng

เริง

long

ลง

g

เกอ

ga

กา

ge

เกอ

gai

กาย

gei

เกย

gao

กาว

gou

โกว

gan

กาน

gen

เกิน

gang

กัง

geng

เกิง

gong

กง

k

เคอ

ka

คา

ke

เคอ

kai

คาย

kei

เคย

kao

คาว

kou

โคว

kan

คาน

ken

เคิน

kang

คัง

keng

เคิง

kong

คง

H

เฮอ

ha

ฮา

He

เฮอ

hai

ฮาย

hei

เฮย

hao

ฮาว

hou

โฮว

han

ฮัน

hen

เฮิน

hang

ฮัง

heng

เฮิง

hong

ฮง

j

จี

q

ชี

x

ซี

z

จือ

za

จา

ze

เจอ

zi

จือ

zai

จาย

zei

เจย

zao

จาว

zou

โจว

zan

จัน

zen

เจิน

zang

จาง

zeng

เจิง

zong

จง

c

ชือ

ca

ชา

ce

เชอ

ci

ชือ

cai

ชาย

cao

ชาว

cou

โชว

can

ชัน

cen

เชิน

cang

ชาง

ceng

เชิง

cong

ชง

s

ซือ

sa

ซา

se

เซอ

si

ซือ

sai

ซาย

sao

ซาว

sou

โซว

san

ซัน

sen

เซิน

sang

ซาง

seng

เซิง

song

ซง

zh

จือ

zha

จา

zhe

เจอ

zhi

จือ

zhai

จาย

zhei

เจย

zhao

จาว

zhou

โจว

zhan

จัน

zhen

เจิน

zhang

จาง

zheng

เจิง

zhong

จง

ch

ชือ

cha

ชา

che

เชอ

chi

ชือ

chai

ชาย

chao

ชาว

chou

โชว

chan

ชัน

chen

เชิน

chang

ชาง

cheng

เชิง

chong

ชง

sh

ซือ

sha

ซา

she

เซอ

shi

ซือ

shai

ซาย

shei

เซย

shao

ซาว

shou

โซว

shan

ซัน

shen

เซิน

shang

ซาง

sheng

เซิง

r

re

เยอ

ri

ยือ

rao

ยาว

rou

โยว

ran

ยาน

ren

เยิน

rang

ยาง

reng

เยิง

rong

ยง

               

               กลุ่มที่ 2 นำหน้าด้วยสระ i (อี) ได้แก่

i (อี)            ia (เอียะ)          iao (เอียว)                       ie (เอีย)                iou (อิว)

ian (เอียน)  in (อิน)            iang (เอียง)      ing (อิง)               iong (อี+อง)

声母

2

i

อี

ia

เอียะ

iao

เอียว

ie

เอีย

iou

อิว

ian

เอียน

in

อิน

iang

เอียง

ing

อิง

iong

อี+อง

b

โป

bi

ปี

biao

เปียว

bie

เปีย

bian

เปียน

bin

ปิน

bing

ปิง

p

โพ

pi

พี

piao

เพียว

pie

เพีย

pian

เพียน

pin

พิน

ping

พิง

m

โม

mi

มี

miao

เมียว

mie

เมีย

miu

มิว

mian

เมียน

min

มิน

ming

มิง

f

โฟ

d

เตอ

di

ตี

diao

เตียว

die

เตีย

diu

ติว

dian

เตียน

ding

ติง

t

เทอ

ti

ที

tiao

เทียว

tie

เทีย

tian

เทียน

ting

ทิง

n

เนอ

ni

นี

niao

เนียว

nie

เนีย

niu

นิว

nian

เนียน

nin

นิน

niang

เนียง

ning

นิง

l

เลอ

li

ลี

lia

เลียะ

l iao

เลียว

lie

เลีย

liu

ลิว

lian

เลียน

lin

ลิน

liang

เลียง

ling

ลิง

g

เกอ

k

เคอ

H

เฮอ

j

จี

ji

จี

jia

เจียะ

jiao

เจียว

jie

เจีย

jiu

จิว

jian

เจียน

jin

จิน

jiang

เจียง

jing

จิง

jiong

โจวง

q

ชี

qi

ชี

qia

เชียะ

qiao

เชียว

qie

เชีย

qiu

ชิว

qian

เชียน

qin

ชิน

qiang

เชียง

qing

ชิง

qiong

โชวง

x

ซี

xi

ซี

xia

เซียะ

xiao

เซียว

xie

เซีย

xiu

ซิว

xian

เซียน

xin

ซิน

xiang

เซียง

xing

ซิง

xiong

โซวง

z จือ

c ชือ

s ซือ

zhจือ

chชือ

shซือ

r ยือ

yi

อี

ya

เอียะ

yao

เอียว

ye

เอ

you

อิว

yan

เอียน

yin

อิน

yang

เอียง

ying

อิง

yong

อี+อง

                       กลุ่มที่ 3 นำหน้าด้วยสระ u ได้แก่

u (อู)            ua (อวา)             uo (อัว)          uai (อวาย)        uei  (อู+เอย)

uan (อวาน)   un  (อุน)            uang (อวาง)  ueng (อู+เอิง)

声母

3

u

อู

ua

อวา

uo

อัว

uai

อวาย

uei

อุย

uan

อวาน

un

อุน

uang

อวาง

ueng

อู+เอิง

b

โป

bu

ปู

p

โพ

pu

พู

m

โม

mu

มู

f

โฟ

fu

ฟู

d

เตอ

du

ตู

duo

ตัว

dui

ตุย

duan

ตวาน

dun

ตุน

t

เทอ

tu

ทู

tuo

ทัว

tui

ทุย

tuan

ทวาน

tun

ทุน

n

เนอ

nu

นู

nuo

นัว

nuan

นวน

l

เลอ

lu

ลู

luo

ลัว

luan

ลวน

lun

ลุน

g

เกอ

gu

กู

gua

กวา

zuo

กัว

guai

กวาย

gui

กุย

guan

กวาน

gun

กุน

guang

กวาง

k

เคอ

ku

คู

kua

ควา

kuo

คัว

kuai

ควาย

kui

คุย

kuan

ควาน

kun

คุน

kuang

ควาง

H

เฮอ

hu

ฮู

hua

ฮวา

huo

ฮัว

huai

ฮวาย

hui

ฮุย

huan

ฮวาน

hun

ฮุน

huang

ฮวาง

j

จี

q

ชี

x

ซี

z

จือ

zu

จู

zuo

จัว

zui

จุย

zuan

จวาน

zun

จุน

c

ชือ

cu

ชู

cuo

ชัว

cui

ชุย

cuan

ชวาน

cun

ชุน

s

ซือ

su

ซู

suo

ซัว

sui

ซุย

suan

ซวน

sun

ซุน

zh

จือ

zhu

จู

zhua

จวา

zhuo

จัว

zhuai

จวาย

zhui

จุย

zhuan

จวาน

zhun

จุน

zhuang

จวง

ch

ชือ

chu

ชู

chua

ชวา

chuo

ชัว

chuai

ชวาย

chui

ชุย

chuan

ชวาน

chun

ชุน

chuang

ชวง

sh

ซือ

shu

ซู

shua

ซวา

shuo

ซัว

shuai

ซวาย

Shui

ซุย

shuan

ซวาน

shun

ซุน

shuang

ซวง

r

ยือ

ru

ยู

rua

ยวา

ruo

ยัว

rui

ยุย

ruan

ยวาน

run

ยุน

wu

อู

wa

อวา

wo

อัว

wai

อวาย

wei

อู+เอย    / เวย

wan

อวาน

wen

อู+เอินเวิน

wang

อวาง

weng

อู+เอิง / เวิง

                       กลุ่มที่ 4 กลุ่มสุดท้ายนำหน้าด้วยสระ ü (อวี) ได้แก่

      ü (อวี)            üe (เอวีย)          üan  (เอวียน)            ün (อวิน)

声母

4

ü

อวี

üe

อวี+เอ (เอวีย)

üan

อวี+อัน(เอวียน)

ün

อวิน

b  โป

p โพ

mโม

f  โฟ

d  เตอ

t  เทอ

n

เนอ

นวี

nüe

นวี+เอ (เนวีย)

l

เลอ

ลวี

lüe

ลวี+เอ (เลวีย)

g เกอ

k เคอ

h เฮอ

j

จี

ju

จวี

jue

จวี+เอ (เจวีย)

juan

จวี+อัน(เจวียน)

jun

จวิน

q

ชี

qu

ชวี

que

ชวี+เอ (เชวีย)

quan

ชวี+อัน (เชวียน)

qun

ชวิน

x

ซี

xu

ซวี

xue

ซวี+เอ(เซวีย)

xuan

ซวี+อัน(เซวียน)

xun

ซวิน

z  จือ

c   ชือ

s  ซือ

zh จือ

ch ชือ

sh ซือ

r  ยือ

yu

อวี

yue

อวี+เอ(เอวีย)

yuan

อวี+อัน(เอวียน)

yun

อวิน

 ** ข้อสังเกต พยัญชนะ  j (จี)  q (ชี)   x (ซี)  y (อี) หากผสมกับสระ ü (อวี)จะละเครื่องหมายจุดจุดข้างบนเอาไว้ อย่างที่บอกไว้ข้างต้น สระ ü (อวี) มีรากฐานมาจากสระ u (อู) + i (อี)หากสังเกตการออกเสียงพยัญชนะ j (จี)  q (ชี)   x (ซี)  y (อี) ให้ดี ๆ จะเห็นว่ามีเสียงสระ i (อี) ประกอบอยู่ด้วย ดังนั้นจึงถือว่าหากนำพยัญชนะ j (จี)  q (ชี)   x (ซี)  y (อี) มาผสมกับสระ ü (อวี) ไม่จำเป็นต้องเติมจุดบนสระ ü

Leave a comment